โครงสร้างรายวิชาภาษาไทย ท33101


โครงสร้างรายวิชา
วิชา  ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย รายวิชาพื้นฐาน        กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน  ๔๐ ชั่วโมง   จำนวน  ๑.๐ หน่วยกิต

ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
การอ่าน
อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว   และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง  ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
-ขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้าง
ถวายฎีกา
-กาพย์เห่เรือ
-ไตรภูมิพระร่วง  ตอนมนุสสภูมิ
-บทร้อยแก้วร้อยกรอง
ในดุลยพินิจครูผู้สอน
 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง              ความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
-ขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้าง
ถวายฎีกา
-กาพย์เห่เรือ
-ไตรภูมิพระร่วง  ตอนมนุสสภูมิ
-บทร้อยแก้วร้อยกรอง
ในดุลยพินิจครูผู้สอน
-มารยาทการอ่าน
สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
-ขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้างถวายฎีกา
-กาพย์เห่เรือ
-ไตรภูมิพระร่วง  ตอนมนุสสภูมิ
-บทร้อยแก้วร้อยกรอง
ในดุลยพินิจครูผู้สอน
-มารยาทการอ่าน
มีมารยาทในการอ่าน
๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง  ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน 
๒. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง ความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
๓. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
๔. มีมารยาทในการอ่าน
๑๐
๒๐



ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
การเขียน
เขียนสื่อสารในรูปแบบ
ต่างๆ  ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์  โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระสำคัญชัดเจน
-การใช้ภาษาให้งดงาม
-การอธิบาย บรรยาย พรรณนา
เขียนเรียงความ
-เรียงความโลกจินตนาการ
เขียนย่อความจากสื่อ                      ที่มีรูปแบบ  และเนื้อหาหลากหลาย 
-การย่อความ
อยู่ในดุลยพินิจครูผู้สอน
เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียน  เชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
-การเขียนรายงาน
อยู่ในดุลยพินิจครูผู้สอน
บันทึกการศึกษาค้นคว้า              เพื่อนำไปพัฒนาตนเอง                     อย่างสม่ำเสมอ
-การเขียนบันทึก
อยู่ในดุลยพินิจครูผู้สอน
มีมารยาทในการเขียน
-มารยาทการเขียน



๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์  โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระสำคัญชัดเจน   
๒. เขียนเรียงความ
๓. เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ  และเนื้อหาหลากหลาย 
๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ 
๕. ประเมินงานเขียนของผู้อื่น  แล้วนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง
๖. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียน  เชิงวิชาการ   และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
๗. บันทึกการศึกษาค้นคว้า เพื่อนำไปพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ
๘. มีมารยาทในการเขียน
๒๐




ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
การฟัง การดู และการพูด
วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ประเมินเรื่องที่ฟังและดู              แล้วกำหนดแนวทางนำไป
ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู
พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง  โน้มน้าวใจ                 และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษถูกต้องเหมาะสม
มีมารยาทในการฟัง การดู  
 และการพูด
- ข่าวจากสื่อสิ่งพิมพ์
ข่าวจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์
และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆในชุมชน
- บทความ
-นิทาน
-เรื่องสั้น
-นวนิยาย
-วรรณกรรมพื้นบ้าน
-บทโฆษณา
-สารคดี
-บันเทิงคดี
-ปาฐกถา
-พระบรมราโชวาท
-เทศนา
-คำบรรยาย
-คำสอน
-บทร้อยกรองร่วมสมัย
-บทเพลง
-บทอาเศียรวาท
-คำขวัญ
-มารยาทการฟัง การดู และ การพูด
(อยู่ในดุลยพินิจครูผู้สอน)
๑. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
. ประเมินเรื่องที่ฟังและดูแล้วกำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟังและดู
๔. พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้ง  โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม
๕.  มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด











๒๐
ลำดับที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนัก
คะแนน
หลักการใช้ภาษาไทย
อธิบายธรรมชาติของภาษา  พลังของภาษา และลักษณะของภาษา
-ธรรมชาติของภาษา
-พลังของภาษา
-พันธกิจของภาษา
แต่งบทร้อยกรอง
- การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
-สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
(อยู่ในดุลยพินิจครูผู้สอน )
๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา  พลังของภาษา และลักษณะของภาษา
๒. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคำราชาศัพท์อย่างเหมาะสม
๓. แต่งบทร้อยกรอง
๔. วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
๑๐
๒๐

วรรณคดีและวรรณกรรม
วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม  ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่น                 ของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้                                                    ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะ ที่เป็น                มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ท่องจำและบอกคุณค่า                 บทอาขยานตามที่กำหนด   และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง
-ขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้างถวายฎีกา
-กาพย์เห่เรือ
-ไตรภูมิพระร่วง  ตอนมนุสสภูมิ
-บทร้อยแก้วร้อยกรองอื่น ๆ
อยู่ในดุลยพินิจครูผู้สอน
-มารยาทการอ่าน
๑.วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม                   ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
๒. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยง                   กับการเรียนรู้ ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต
๓. วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
. ท่องจำและบอกคุณค่า บทอาขยานตามที่กำหนด   และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อ้างอิง



๑๐



๒๐
รวม
๔๐
๑๐๐

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น